วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

บทที่ 6 การใช้งานโปรแกรม Joomla

การใช้งานโปรแกรม Joomla




joomla 
เป็นระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (content management system: cms) ที่ช่วยให้การ
พัฒนาเว็บไซต์เป็นเรื่องง่ายและรวดเร็ว สามารถติดตั้งใช้งานและอัพเดทข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลาตามต้องการ 
โปรแกรม joomla จะแบ่งวนหลัก ๆ คือ เว็บไซต์ออกเป็นสองส่

- frontend คือส่วนที่แสดงผลให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเนื้อหาของเว็บไซต์นั่นเอง 

- backend คือส่วนการจัดการเนื้อหารวมถึงโครงสร้างของเว็บไซต์ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าส่วน 
administrator 

ส่วนประกอบต่าง ๆ ภายใน Joomla Administrator 
หลังจาก Login เข้ามาในส่วน administrator แล้ว จะพบส่วนประกอบต่าง ๆ 4 ส่วนดังนี้ 
1. Menubar คือส่วนที่แสดงชื่อค าสั่งทั้งหมดของโปรแกรม Joomla 
2. Infobar คือส่วนที่แสดงข้อมูลรายละเอียดต่อไปนี้ 

- ชื่อของเว็บไซต์ 

- ตำแหน่งปัจจุบัน (Current Location) ใน Admin Section ที่กำลังใช้งานอยู่ 

- จำนวนข้อความที่ได้รับจาก Users อื่น ๆ 

- จำนวนผู้เข้าใช้งานโปรแกรม Joomla ในขณะนั้น 

- ชื่อผู้ใช้ที่ Login เข้ามา เช่น admin 

3. Toolbar คือเมนูค าสั่งย่อยจะปรากฏหลังจากคลิกเลือกค าสั่งบน Menubar แล้ว (อาจจะแสดง
จำนวนปุ่มไม่เท่ากัน เมื่อคลิกเลือกค าสั่งบน menubar) 

4. Workspace คือพื้นที่แสดงการท างานต่าง ๆ ซึ่งอยู่ด้านล่าง Menubar, Infobar และ Toolbar


ข้อดีของJoomla

  1. จูมล่าให้ใช้งานได้ฟรี
  2. ขั้นตอนการติดตั้งเข้าใจง่าย
  3. ควบคุมหน้าตาเว็บไซต์ ด้วยเทมเพลต ในการแสดงผลเนื้อหาของเว็บไซต์
  4. สร้างและจัดการเนื้อหาได้ง่าย
  5. รองรับกับการทำงานหลายๆ คนพร้อมกัน ด้วยระบบจัดการผู้ใช้งานที่มีประสิทธิภาพ โดยการแยกกลุ่มผู้ใช้งานเว็บไซต์ออกเป็นกลุ่ม
  6. มีความเสถียรภาพ ปลอดภัย และอัปเดตสม่ำเสมอ
  7. ไม่ต้องยึดติดกับคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ใดๆ
  8. มีสังคมออนไลน์ที่มีข้อมูลช่วยเหลืออจำนวนมาก
  9. มีผู้พัฒนาภาษาไทยอย่างเป็นทางการ คือทีมงาน Joomlacorner.com ผู้พัฒนาภาษาไทยอย่างเป็นทางการ
  10. สมบูรณ์ด้วยโปรแกรมเสริมที่หลากหลาย

ความสามารถของjoomla

  1. สามารถใช้งานได้หลายภาษา
  2. ระบบจัดหาเนื้อหาหรือบทความ
  3. ระบบจัดการข้อมูลติดต่อ
  4. ระบบจัดการรูปภาพและไฟล์มันติมีเดีย
  5. ระบบจัดการสมาชิก/ระบบส่ง เมล์ สำหรับสมาชิก

บทที่ 5 วัฎจักร การพัฒนาระบบ การจัดการความรู้

Compare CSLC and KMSLC





Conventional System Life Cycle วงจรชีวิตการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม
  
  1.Functional Requirements Specifications กำหนดคุณสมบัติความต้องการ การทำงานของระบบ
 2.Recognition of Need and Feasibility Study การกำหนดความต้องการของระบบ
 3.Logical Design (master design plan) การออกแบบเชิงตรรกะของระบบทั้งหมด(ในกระดาษ)
 4.Physical Design (coding) การออกแบบเชิงกายภาพ(การสร้างระบบขึ้นมาเอง)
 5.Testing การทดสอบระบบ
 6.Implementation (file conversion, user training) การนำระบบไปใช้งาน
 7.Operations and Maintenance การดำเนินงานและบำรุงรักษา


KM System Life Cycle วงจรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้

1. Evaluate Existing Infrastructure การประเมินโครงสร้างพื้นฐานของระบบที่มีอยู่
2. Form the KM Team  การจัดตั้งทีมงานจัดการความรู้
3. Knowledge Capture การรวบรวมความรู้มาเก็บไว้เพื่อที่จะเอาข้อมูลความรู้เหล่านี้เข้าสู่ระบบ
4. Design KMS Blueprint  การออกแบบพิมพ์เขียวของการจัดการความรู้
5. Verify and validate the KM System การสร้างระบบขึ้นมา แล้วตรวจสอบว่าระบบมีความเหมาะสมหรือไม่ 
  • Verify แปลว่า ระบบทำงานได้เหมาะสมกับผู้ใช้หรือไม่
  • Validate  แปลว่า การตรวจสอบว่าระบบทำงานได้ถูกต้องหรือป่าว เช่น ให้คำนวณและได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
6. Implement the KM System การเอาระบบ KM ไปใช้
7. Manage Change and Rewards Structure การจัดการของการเปลี่ยนแปลงและขั้นตอนการของการให้รางวัล
8. Post-system evaluation  การประเมินผลหลังจากที่เอาระบบไปใช้แล้ว


Key Differences 


1. Systems analysts; knowledge developers 
นักวิเคราะห์ระบบพัฒนาจัดการความรู้จากผู้ใช้งานระบบ
2.Users; domain experts 
ผู้ใช้ทราบปัญหาและทางออก แต่ไม่ได้มีการแก้ปัญหา
3.KM SLC is incremental and interactive. 
km SLC คือการเพิ่มขึ้นและการโต้ตอบ
4.end; evolves from beginning 
ทดสอบระบบปกติที่จุดสิ้นสุดของวงจรชีวิต ระบบการทดสอบทางวิวัฒนาการจากจุดเริ่มต้นของวัฏจักร
5.specify then build; start slow and grow” 
งจรชีวิตของระบบปกติคือ กระบวนการขับเคลื่อนหรือ " ระบุแล้วสร้าง " แต่วัฏจักรระบบ km คือ มุ่งเน้นผลลัพธ์ หรือ " เริ่มต้นช้าและเติบโต”


 Key Similarities


1. Both begin with a problem and end with a solution 
มีการเริ่มต้นด้วยปัญหาและจบลงด้วยการแก้ปัญหา 
2.Both begin with information gathering or knowledge capture 
มีการเริ่มต้นด้วยการรวบรวมข้อมูลหรือการจับความรู้ 
3.Testing is essentially the same to make sure “the system is right” and “it is the right system” 
การทดสอบเป็นหลักเดียวกันเพื่อให้แน่ใจว่าระบบ“ที่ถูกต้อง” และ“เป็นระบบที่เหมาะสม” 
4.Both developers must choose the appropriate tool(s) for designing their respective systems 
นักพัฒนาทั้งสองจะต้องเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม (s) สำหรับการออกแบบระบบของตน


บทที่ 6 การใช้งานโปรแกรม Joomla

การใช้งานโปรแกรม Joomla joomla  เป็นระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (content management system: cms) ที่ช่วยให้การ พัฒนาเว็บไซต์เป็...